วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

8.) การหาพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อน


การหาพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อน



1.  สร้าง Folder ขึ้นมา 1 Folder 


2.  ไปที่โฟลเดอร์ pasak แล้วลากข้อมูล a5238iv , a5238iii , a5238i , a5239iii มาใส่ใน Table Of Contents


3.  เราจะนำข้อมูลที่ลากออกมาทั้งหมด 4 ข้อมูลนั้นมารวมกันด้วยวิธีการ Merge โดยที่เครื่องแถบเมนู Geoprecessing เลือกคำสั่ง Merge ออกมา


4.  นำข้อมูลทั้ง 4 ข้อมูล ลากมาใส่ Input Datasets แล้ว Output Datasets เลือกโฟลเดอร์ ตั้งชื่อ Admin ใน Dem_ชื่อเรา แล้วกด OK 


5.  จะได้ข้อมูลที่ทำการ Merge กันเรียบร้อยดังภาพ


6.  แล้วไปนำข้อมูลในโฟลเดอร์Pasak > code แล้วเลือกข้อมูล luprv luamp และ lutam ออกมา


7.  เปิดตาราง  Admin ขึ้นมา จากนั้นเลือก  Table Options > joins and relates >  join 







8.  ใน ช่องที่ 1 และช่องที่ 3 เลือก PRV_ID ส่วนช่องที่ 2          เลือก luprvc แล้วก็กด OK


9.  จะแสดงหน้าต่างตารางดังภาพภาพนี้


10.  เลือก Table Options > joins and relates >  join แล้วเลือกช่อง 1 และ ช่อง 3ให้เป็นAMP_ID และช่อง 2 เลือก luamp จากนั้นกด OK


11.  จะแสดงหน้าต่างตารางดังภาพภาพนี้


12.  เลือก Table Options > joins and relates >  join แล้วเลือก ช่อง 1 และ ช่อง 3 ให้เลือกเป็น ADM_ID และช่อง 2 เลือก lutam  จากนั้นกด OK


13.  จะแสดงหน้าต่างตารางดังภาพภาพนี้


14.  เปิดชั้นข้อมูล dam ออกมา จากนั้นเปิดเครื่องมือ Bufferโดยที่เครื่องแถบเมนู Geoprecessing เลือกคำสั่ง Buffer ออกมา


15.  ที่ช่อง Input Features  นำเข้าข้อมูล dam ที่ช่อง Output Features Classจากนั้น Save ไว้ในโฟลเดอร์ที่ต้องการ  ตั้งชื่อ Dam500  ที่ Distance[value of field]ใส่ค่า500ลงไป โดยใช้หน่วยเป็น Meters จากนั้นกด OK


16.  จะได้ข้อมูลแสดงออกมาดังภาพ


17.  เปิดเครื่องมือ Clip ออกมา


18. ที่ช่อง Input Features นำเข้าข้อมูล Admin ที่ช่อง Clip Features นำเข้าข้อมูล Dam500 ที่ Output Feature Class เราเลือก Save ไว้ในโฟลเดอร์ที่ต้องการ ตั้งชื่อ admin500 จากนั้นกด OK


19.  จะได้ข้อมูลแสดงออกมาดังภาพ


20.  ลากข้อมูล15239iii, 15238iv, 15238iii, 15138i ออกมาใส่ใน Table Of Contents


21.  เปิดเครื่องมือ Merge ออกมา


22.  นำข้อมูลทั้ง 15239iii, 15238iv, 15238iii, 15138i  ลากมาใส่ใน Input Datasets แล้ว Output Datasets เลือกโฟลเดอร์ ตั้งชื่อ LU แล้วกด OK 


23.  จะได้ข้อมูลแสดงออกมาดังภาพ


24.  เปิดตาราง LU ขึ้นมา จากนั้นเลือก  Table Options > joins and relates >  join จากนั้นที่ช่อง 1 และ ช่อง 3ให้เลือกเป็น LUCODE และที่ช่อง 2 เลือก lucode เมื่อเลือกเสร็จ กด OK


25.  จะแสดงหน้าต่างตารางดังภาพภาพนี้


26.  เปิดเครื่องมือ Clip ออกมา  ที่ช่อง Input Features นำเข้าข้อมูล LU ที่ช่อง Clip Features นำเข้าข้อมูล Dam500 ที่ช่อง Output Feature Class เราเลือก Save ไว้ในโฟลเดอร์ที่ต้องการ ตั้งชื่อ LU500 จากนั้นกด OK


27.  จะได้ข้อมูลแสดงออกมาดังภาพ


28.  เปิดเครื่องมือ Union ออกมา


29.  ที่ช่อง Input Features นำเข้าข้อมูล  LU500 และ admin500   และที่ช่อง Output Feature Class เราเลือก Save ไว้ในโฟลเดอร์ที่ต้องการ แล้ว Save ชื่อ final จากนั้นกด OK


30.  เปิดตาราง final ขึ้นมา จากนั้นเลือก  Table Options > Add Field


31.  ที่ช่อง Name ตั้งชื่อว่า area ที่ช่อง Type เลือก Float  ที่ช่อง Field Properties ตรงช่อง Precisionใส่ค่าเป็น 20 และช่องScale ใส่ค่าเป็น 2 จากนั้นกด OK


32.  จะขึ้นฟิลด์ใหม่ชื่อ area  มาแล้วคลิกขวาเลือก Calculate Geometry ขึ้นมา ที่หน้าต่างCalculate Geometry ช่อง Property เลือกเป็น Area จากนั้นกด OK


33.  จะแสดงหน้าต่างตารางที่มีค่าของพื้นที่ในช่อง area ดังภาพ


34.  เปิดโปรแกรม Microsoft Excel ขึ้นมาเปิดข้อมูล เปิดไฟล์ final.dbf  ขึ้นมา


35.  จะแสดงตารางข้อมูล final ดังภาพภาพ


36.  เลือกที่แทป Insert เลือก PivotTable > PivotTable


37.  จากนั้นกด OK


38.  จะแสดงลักษณะของ PivotTable ดังภาพ


39.  ที่ช่อง PivotTable Field List กดเลือก luprv_PRV1


40.  หรือจะข้อมูลอื่นๆตามที่เราต้องการ


41.  จะสามารถเลือกข้อมูลได้หลายข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ตามที่เราต้องการจะแสดง 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น