วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

5.) การประมาณค่าช่วง


การประมาณค่าช่วง


1.  สร้างโฟลเดอร์ชื่อว่า Inter ตามด้วยชื่อตัวเอง


2.  เปิดข้อมูล SPOT จากโฟลเดอร์ Kanburi ออกมา


3.  เลือกเครื่องมือ IDW ที่เครื่องมือArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > IDW  จากนั้นที่ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ที่ช่อง Z value field ให้ใส่   Elevation  ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่า Pixel เป็น 40 จากนั้นกดปุ่ม OK


4.  จะได้การแสดงผลของ IDW ตามนี้


5.  ลากข้อมูลPROVINCE  เพื่อเป็นการสร้างขอบเขต ไปที่เครื่องมือ IDW ที่ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ส่วนที่ช่อง Z value field ให้ใส่ค่า Elevation ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ และที่ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่า Pixel เป็น 40  จากนั้นกดปุ่ม Environments  ลือก  Processing Extent ที่ช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  

6.  จากนั้นเลือกRaster Analysis  ที่ช่องMask เลือก PROVINCE จากนั้นกดปุ่ม OK 
   


7.  จะแสดงผลตามภาพดังนี้


8.  เลือกเครื่องมือ Natural Neighbor ออกมาจากเครื่องมือArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Natural Neighbor  จากนั้นที่ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ที่ช่อง Z value field ให้ใส่   Elevation  ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่า Pixel เป็น 40 จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบเขตข้อมูล


9.  เลือก Processing Extent ที่ช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  



10.  จากนั้นเลือกRaster Analysis  ที่ช่องMask เลือก PROVINCE จากนั้นกดปุ่ม OK 


11.  จะแสดงผลดังภาพ


12.  เลือกเครื่องมือ Spline ออกมาจากเครื่องมือ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Splineจากนั้น ที่ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ที่ช่อง Z value field ให้ใส่ Elevation  ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่า Pixel เป็น 40 เลือก Spline Type เป็น REGULARIZED จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบเขตข้อมูล


13.  เลือก Processing Extent ที่ช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลือกRaster Analysis  ที่ช่องMask เลือก PROVINCE จากนั้นกดปุ่ม OK 


14. จะแสดงผลได้ดังภาพ


15.  ทำเหมือนข้างต้น แต่เลือก Spline Type เป็น TENSION เลือกข้อมูลดังนี้ กด OK


16.  จะแสดงผลดังภาพ


17.  เปิดเครื่องมือ Kriging ที่เครื่องมือArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Kriging จากนั้น ที่ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ที่ช่อง Z value field ให้ใส่ Elevation  ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่า Pixel เป็น 40 กด Environments เพื่อตัดขอบเขตข้อมูล


18.  เลือก Processing Extent ที่ช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลือกRaster Analysis  ที่ช่องMask เลือก PROVINCE จากนั้นกดปุ่ม OK 


19.  จะแสดงผลดังภาพ


20.  เปิดเครื่องมือ Trend จากเครื่องมือArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Tread จากนั้น ที่ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ที่ช่อง Z value field ให้ใส่ Elevation  ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่า Pixel เป็น 40 กด Environments เพื่อตัดขอบเขตข้อมูล


21.  เลือก Processing Extent ที่ช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลือกRaster Analysis  ที่ช่องMask เลือก PROVINCE จากนั้นกดปุ่ม OK 







22.  จะแสดงผลดังภาพ






23.  สามารถกำหนดความเว้าโค้งโดยใส่ค่าPolynomial order(optional) เป็น 2




24. จะแสดงผลดังภาพ


25.  เปิดข้อมูล CONTOUR  STREAM  SPOT และ PROVINCE ขึ้นมา


26.  เปิดเครื่องมือ Topo to Raster ออกมากจากเครื่องมือArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Topo to Raster


27.  ที่ช่อง Input features data ใส่ ชั้นข้อมูลCONTOUR เลือกfield เป็น ELEVATION และ type เป็น Contour,   ข้อมูล STREAM เลือกtype เป็น stream,   ข้อมูลSPOT เลือกfield เป็น ELEVATION และ type เป็น PointElevation และ ข้อมูล PROVINCE เลือกtype เป็น Boundary  ช่อง Output surface rasterให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่า Pixel เป็น 40 จากนั้นกด OK


28.  จะแสดงผลดังภาพ


29.  เปิดเครื่องมือ Create TIN  ออกมาจากเครื่องมือArcToolbox > 3D Analyst Tools >TIN Management > Create TIN


30.  ที่ช่อง Input Feature  ใส่ชั้นข้อมูลCONTOUR  STREAM  SPOT และ PROVINCE  แล้วตั้งค่า height_field, SF_type และ tag_field ดังภาพ  ที่ช่อง Output Tin ให้เลือกโฟเดอร์ที่เราต้องการจะเซฟเเล้วตั้งชื่อ จากนั้นเลือกเครื่องหมายถูกหน้า Constrained Delaunay (Optional) จากนั้นกด OK


31.  จะแสดงผลดังภาพ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น